สื่อการเรียนการสอน

สื่อการเรียนการสอน คืออะไร

    สื่อการเรียนการสอน หมายถึง ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ จากแหล่ง ความรู้ไปสู่ผู้เรียน และทําให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ในทางการศึกษา มีคําที่มีความหมายแนวเดียวกันกับสื่อการเรียนการสอน เช่น สื่อการสอน (Instructional Media or Teaching Media), สื่อการศึกษา (Educational Media), อุปกรณ์ ช่วยสอน (Teaching Aids)

    ในปัจจุบัน นักการศึกษามักจะเรียกการนําสื่อการเรียนการสอนชนิดต่าง ๆ มารวมกันว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ซึ่งหมายถึงการนําเอาวัสดุอุปกรณ์ และวิธีการ มาใช้ร่วมกันอย่างมีระบบในการจัดการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน

 ประเภทของสื่อการเรียนการสอน

           สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามคุณลักษณะ ได้ 4 ประเภทคือ

        1. สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่ สไลด์แผ่นใส เอกสาร ตํารา สารเคมีสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และคู่มือ

การฝึกปฏิบัติ

        2. สื่อประเภทอุปกรณ์ ได้แก่ ของจริง หุ่นจําลอง เครื่องเล่นเทปเสียง เครื่องเล่นวีดิทัศน์เครื่องฉายแผ่นใส อุปกรณ์และเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ

        3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ได้แก่ การสาธิต การอภิปรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติการฝึกงานการจัดนิทรรศการ และสถานการณ์จําลอง

        4. สื่อประเภทคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การนําเสนอด้วยคอมพิวเตอร์(Computer presentation) การใช้ Intranet และ Internet เพื่อการสื่อสาร (Electronic mail: E-mail) และการใช้ WWW (World Wide Web)

       

ไฟล์เอกสาร/ไฟล์นำเว็บไซต์สำนักวิชาการ

 1. คำสั่ง เรื่อง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง             พ.ศ. 2560)

 2. ประกาศ เรื่อง การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

 3. คำสั่ง เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานและตัวชี้วัด กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

 4. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์  (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

 5. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

 6. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

 7. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางสาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

 8. การเทียบเคียงตัวชี้วัดและผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ (ม.ปลาย)

 9. การเทียบเคียงตัวชี้วัดและผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ (ม.ปลาย)

10. การเทียบเคียงตัวชี้วัดกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

11. Power Point ประกอบการประชุมสร้างความเข้าใจหลักสูตรคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

       : 1 มกราคม 61

                  11.1 PPT เลขาธิการ กพฐ.              11.2 PPT การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา           11.3 สาระภูมิศาสตร์

(VDO : การนำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระคณิต-วิทย์-ภูมิศาสตร์ ปี 60 สู่การปฏิบัติ)